‘Harry West’ ซีอีโอแห่ง frog กับการออกแบบนวัตกรรมเพื่อสังคม
รู้หรือไม่ว่า..โทรทัศน์ที่คุณดู คอมพิวเตอร์ที่คุณใช้ หรือโทรศัพท์ที่คุณถืออยู่ ใครเป็นคนออกแบบ? แต่หากเอ่ยถึงโทรทัศน์ WEGA ของ Sony ผลงานออกแบบ (ชิ้นแรก)
รู้หรือไม่ว่า..โทรทัศน์ที่คุณดู คอมพิวเตอร์ที่คุณใช้ หรือโทรศัพท์ที่คุณถืออยู่ ใครเป็นคนออกแบบ? แต่หากเอ่ยถึงโทรทัศน์ WEGA ของ Sony ผลงานออกแบบ (ชิ้นแรก)
Chid Liberty (ชิด ลิเบอร์ตี) เกิดที่ไลบีเรีย ประเทศฝั่งตะวันออกของทวีปแอฟริกา แต่เนื่องจากสงครามกลางเมืองที่ทวีความรุนแรง ครอบครัวของเขาจึงลี้ภัยไปอยู่ต่างประเทศ ตัวเขาเองก็ยอมรับว่าเขารู้เรื่องแอฟริกาน้อยมาก แต่ก็ตัดสินใจกลับมาทำธุรกิจที่ทวีปบ้านเกิด
งานออกแบบที่ดีไม่เพียงแต่จะต้องประกอบไปด้วยคุณสมบัติพื้นฐานที่ดีอย่างโครงสร้าง ฟอร์ม สีสัน วัสดุ และความสวยงามเท่านั้น แต่งานชิ้นนั้นจะต้องเข้าใจในระบบความสัมพันธ์ระหว่าง ผู้ใช้กับตัวผลิตภัณฑ์ สามารถตอบสนองต่อการใช้งานได้สูงสุด สร้างความรู้สึกที่ดี ตลอดจนปลอดภัยต่อทั้งผู้ใช้และสิ่งแวดล้อม
‘มีวนา (Mivana)’ เป็นแบรนด์กาแฟน้องใหม่ที่ตั้งขึ้นโดยมีจุดมุ่งหมายชัดเจนคือรักษาป่า ภายใต้วิถีเกษตรอินทรีย์ และกลไกแบ่งปันผลประโยชน์แบบการค้าที่เป็นธรรม (fair trade) แม้จะเป็นธุรกิจที่ก่อตั้งมาไม่นาน แต่มีวนา หรือบริษัท
หลายคนอาจมองว่า คนที่จบสายสังคมศาสตร์น่าจะเป็นกลุ่มคนที่สามารถช่วยเหลือชุมชนได้มากที่สุด สายวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมก็น่าจะเข้ามาช่วยควบคุมดูแลมลพิษและพฤติกรรมของสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อมนุษย์ หรืออาชีพหมอก็มีบทบาทอย่างสูงในการช่วยเหลือผู้เจ็บป่วยให้มีสุขภาพที่ดีขึ้น ซึ่งนั่นไม่ได้เป็นความเข้าใจที่ผิด แต่มันไม่ใช่คำตอบทั้งหมด เพราะไม่ว่าคุณจะทำอาชีพอะไร คุณก็สามารถนำองค์ความรู้พลิกสร้างคุณค่าให้กับ ชุมชน สังคม
เมื่อเราสามารถเข้าถึงสัญญาณ Wi-Fi ได้ทุกที่ รูปแบบการทำงานจะเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางใด? เมื่อรถไฟใต้ดินโผล่ขึ้นบนย่านเยาวราช วิถีชีวิตของชุมชนชาวไทยเชื้อสายจีนจะถูกกระทบหรือไม่? เมื่อเราก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างเต็มตัว บริการสาธารณะจะพลิกรูปแบบเป็นอย่างไร? และอีกหลากหลายความสงสัยว่า ‘กรุงเทพมหานคร’
หากลองหยิบเอาแว่นขยายมากวาดดูผู้คนในแวดวงสถาปัตยกรรมเพื่อชุมชนบ้านเรา เชื่อแน่ว่าชื่อและการทำงานของ กษมา (พลอย) แย้มตรี คงจะติดโผหนึ่งในสถาปนิกชุมชนที่งานชุกอีกคนหนึ่งจากคำถามที่มีต่อบทบาทของสถาปนิกว่าจะสามารถทำประโยชน์ให้กับสังคมได้จริงหรือไม่ นำไปสู่การทดลองและหาคำตอบ จนกลายเป็นแรงผลักดันสำคัญให้การเดินทางของกษมาเบี่ยงออกมาจากงานสถาปัตย์กระแสหลักและก้าวไปสู่การทำงานเพื่อชุมชนมากว่า 5 ปี
จะมีใครคิดว่า สายงานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หรือชื่อที่เราคุ้นหูกับคำว่าไอที จะสามารถขับเคลื่อนสังคมได้ เพราะโดยความเข้าใจของคนทั่วไป การช่วยเหลืองานสังคมคงจะหมายถึงการเขย่าสังคมให้ตื่นผ่านการประท้วง งานมูลนิธิ องค์กรการกุศล ฯลฯ บ้างเพื่อเรียกร้องสิทธิที่หายไป