Xaroj Phrawong

Xaroj Phrawong

Xaroj Phrawong

สถาปนิกผู้ริเป็นนักเขียน และอาจารย์ประจำคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ปัจจุบันเป็น Ph.D. candidate,Architectural Design at Kyoto Institute of Technology

The Youth Activity Center แปลงโรงงานเก่าเป็นศูนย์กิจกรรมเยาวชนกลางปักกิ่ง

การพัฒนาของเมืองใหญ่มีสิ่งที่ได้มาคือความเจริญ ในขณะเดียวกันก็มีสิ่งที่ต้องแลกคือวิถีชีวิตดั้งเดิมที่เปลี่ยนไป และในความเป็นจริงคือ…ต้องทำใจยอมรับความเปลี่ยนแปลงให้ได้ แม้ว่าจะเสียวิถีชีวิตดั้งเดิม แต่คำถามที่สำคัญกว่าคือเราจะรับมือกับความเปลี่ยนแปลงอย่างไร เราปล่อยให้มันเป็นไปตามยถากรรม หรือหาวิธีให้มันกลายเป็นการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้น ดังเช่นชานเมืองเป่ยจวง กรุงปักกิ่ง ประเทศจีน

สวนแคคตัสฉินกวานในไต้หวัน พื้นที่ร้างทางประวัติศาสตร์ที่กลับมามีชีวิตอีกครั้ง

การท่องเที่ยวในพื้นที่ประวัติศาสตร์คือการทำให้เรื่องราวในอดีตมีลมหายใจขึ้นมาอีกครั้ง ในขณะเดียวกันสามารถนำไปสูการท่องเที่ยวแบบยั่งยืน โดยเฉพาะในพื้นที่ที่มีสถาปัตยกรรมจากประวัติศาสตร์ในช่วงสำคัญของแต่ละถิ่นนั้นปรากฏอยู่ มันช่วยตอบคำถามได้ว่า สถาปัตยกรรมสามารถส่งเสริมการท่องเที่ยวได้อย่างไร แคคตัสเป็นพืชที่นิยมปลูกไปทั่วโลก รวมทั้งไทยด้วยเช่นกัน แต่ในไต้หวันมันเป็นพืชที่ได้รับความนิยมสูงไม่แพ้พืชชนิดอื่น ณ สวนแคคตัสฉินกวาน

Markham College Lower School โรงเรียนวิถีใหม่ในเปรูภายใต้เงื่อนไขการระบาดของโควิด-19

จากการระบาดหนักของ COVID-19 ทำให้ช่วง 2 ปีที่ผ่านมานี้ โลกเรามีการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ อย่างชนิดหน้ามือเป็นหลังมือ ไม่ว่าจะเป็นระบบการขนส่ง การบริโภค การทำงานที่เน้นระยะไกล

BookWorm Pavilion ห้องสมุดตัวหนอน เดินทางทั่วอินเดียเพื่อส่งเสริมการอ่าน

ไม่มีอะไรสำคัญไปกว่าการศึกษา การอ่านจึงเป็นรากฐานที่สำคัญต่อมนุษย์ เราสามารถสร้างสรรค์และทำลายได้ด้วยความรู้ และการอ่านคือเครื่องมือที่ให้เราเข้าถึงความรู้ที่จะยกระดับคุณภาพชีวิตมนุษย์ แต่ในขณะเดียวกันสถาปัตยกรรมสำหรับการอ่านที่เราคุ้นเคย มักเจอรูปแบบที่มีความเป็นสถาบันสูง แฝงด้วยท่าทีที่เป็นทางการจนสร้างความรู้สึกข่มผู้ใช้งาน โดยเฉพาะเด็กที่มีสเกลเล็กกว่าผู้ใหญ่ เมื่อเหล่าเด็กที่รักการอ่านเข้ามาใช้ห้องสมุดแบบเก่า มันดูไม่ชวนให้เข้าใช้งานเอาเสียเลย

Klongtoey Low-Cost Micro Houses บ้านเล็กหลังใหม่ในชุมชนคลองเตยโดย VVA

ในพื้นที่ชุมชนแออัด หรือสลัม เป็นแหล่งรวมผู้คนจากชนบทมาหาโอกาส หางานเลี้ยงชีวิตในเมืองใหญ่ สลัมในประเทศไทยเริ่มจากที่ประเทศไทยสร้างแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม จากนั้นได้เกิดการหลั่งไหลของผู้คนจากต่างจังหวัดเข้ามาทำมาหากินในเมืองหลวงที่เติบโตเดี่ยวคือกรุงเทพมหานคร สลัมจึงเป็นแหล่งพักอาศัยที่ตอบโจทย์คนจนเมืองเหล่านี้ และสลัมที่ขึ้นชื่อของกรุงเทพมหานครคือชุมชนคลองเตย แม้ว่าบ้านจะเป็นหนึ่งในปัจจัยสี่ แต่ในคลองเตย

Resource Revolution โคมไฟส่องสว่างกลางวัน-กลางคืน และผลิตน้ำจืดจากน้ำทะเลให้ใช้ดื่มกิน

เพราะทุกพื้นที่บนโลกมีความแตกต่างกันไปตามสภาพภูมิประเทศ ทำให้มีปัญหาแตกต่างกันไป หากมองว่าการออกแบบคือการแก้ปัญหาแล้วนั้น ในฐานะนักออกแบบคือการมองปัญหาให้ตรงเป้า เพื่อหาวิธีแก้ปัญหาที่เรียบง่ายที่สุด เหมาะสมกับบริบทของแต่ละถิ่นที่ ในหลายพื้นที่ของประเทศชิลีเองก็เช่นกัน มีปัญหาเรื่องการเข้าถึงแหล่งน้ำจืดของคนรายได้น้อย และนอกจากจะเข้าถึงได้ยาก ยังมีแนวโน้มที่จะมีราคาสูงขึ้นไปเรื่อย

BASE Office ตึกเก่าเล่าใหม่ในโตเกียวอายุเกือบ 60 ปีกับการใช้พื้นที่ร่วมกันของ 2 สำนักงาน

อีกวิธีในการสร้างสถาปัตยกรรมที่ยั่งยืนคือการเลือกปรับปรุงอาคารเก่าให้มีชีวิตอีกครั้ง ด้วยการใส่กิจกรรมใหม่ให้สัมพันธ์กับบริบทปัจจุบัน มันสามารถลดการใช้อิฐ หิน ปูนซีเมนต์ ช่วยชะลอให้เราทำลายโลกใบนี้น้อยลงด้วยกระบวนการ reuse โดยเฉพาะในประเทศที่พัฒนาแล้วอย่างญี่ปุ่น การพัฒนาด้วยการสร้างตึกมากมายจากยุคที่เศรษฐกิจเติบโตอย่างมากในยุค 1960-1980

KAIT Plaza อาคารเอนกประสงค์ของสถาบันอุดมศึกษาในญี่ปุ่นที่เน้นการใช้เวลาในอาคารมากกว่าการใช้พื้นที่

มหาวิทยาลัยคือพื้นที่การเรียนรู้ที่สำคัญของมนุษย์ หลายที่ได้บ่มเพาะคนให้เป็นนักคิด นักสร้าง คนสำคัญของโลก แม้ว่าปัจจุบันมหาวิทยาลัยจะถูกท้าทายจากยุคสมัยถึงความจำเป็นต่อการเรียนในระบบมากขึ้นเรื่อยๆ แต่นั่นก็เป็นเรื่องที่ดีที่มหาวิทยาลัยได้ท้าทายตัวเองถึงการปรับตัวครั้งสำคัญในศตวรรษที่ 21 ในบทบาทของสถาปัตยกรรมการศึกษาเองก็ล้วนต้องปรับตัวให้ทันยุคสมัยเช่นกัน ไม่สามารถเป็นแค่สิ่งปลูกสร้างที่ไม่สามารถรองรับนักศึกษาได้อีกต่อไป Kanagawa

Anandaloy ศูนย์กิจกรรมและทอผ้าสำหรับสตรีและคนพิการ สถาปัตยกรรมภูมิปัญญา-วัสดุ-แรงงานท้องถิ่นในบังคลาเทศ

ในขณะที่ทุกมุมโลกกำลังหมุนไปด้วยความเร็ว และเร็วขึ้นทุกที ทุกอย่างแข่งขันด้วยความเร็ว โดยมีเทคโนโลยีที่ช่วยส่งเสริมความเร็วนี้ แน่นอนที่ทุกความเร็วมีราคาที่ต้องจ่ายเสมอ แต่ในขณะที่หลายมุมโลกซึ่งความเร็วไม่ได้เป็นที่ต้องการมากเท่าการมีชีวิตที่ดีขึ้นในวันนี้ คำถามที่มีอยู่ในใจต่อมาคือ ในฐานะผู้สังเกตความเป็นไปของโลกสถาปัตยกรรมมาตลอดหลายปี สถาปนิกมีส่วนร่วมในการยกระดับคุณภาพชีวิตให้กับหลายมุมโลกที่ดูจะถูกลืมได้อย่างไร สำหรับคำตอบนี้

Mountain House in Mist ห้องสมุดกลางหุบเขาในจีน สถาปัตยกรรมใหม่ที่แทรกตัวอยู่ในวิถีเก่า

สถาปัตยกรรมพื้นถิ่นคือสถาปัตยกรรมที่ไม่ได้เกิดจากฝีมือการออกแบบโดยสถาปนิกที่ได้เรียนในโรงเรียนสถาปัตยกรรม หรือผ่านการฝึกฝนในระบบตามมาตรฐานการศึกษา แต่มันเกิดจากฝีมือชาวบ้านที่ทำตามไปตามพลวัตรของถิ่นที่ ตามปากท้องของพื้นถิ่นนั้น ๆ ในทรรศนะของศาสตราจารย์เกียรติคุณอรศิริ ปาณินท์ สถาปัตยกรรมพื้นถิ่นคือ สถาปัตยกรรมที่มีธรรมชาติของการดำรงชีวิตในแต่ละท้องถิ่น ดังนั้นการตีความเรื่องราวของสถาปัตยกรรมร่วมสมัยจากใจความของอดีตกาล