
ศูนย์วัฒนธรรม The People’s Station เคลื่อนที่เข้าหาชุมชนด้วยแนวคิดสถาปัตย์แบบใหม่
ดีไซน์สตูดิโอ People’s Architecture Office (PAO)
ดีไซน์สตูดิโอ People’s Architecture Office (PAO)
ในหลายวัฒนธรรมตะวันออก ถนนไม่ได้เป็นแค่ทางสัญจร แต่เป็นที่พบปะสังสรรค์ ทำกิจกรรมสาธารณะ ค้าขายแลกเปลี่ยนอีกด้วย
หากมองว่า ‘โรงเรียน’ คือ สถานที่สำหรับให้ความรู้ พื้นที่โรงเรียนที่มีเพียงห้องเรียน
จนถึงทุกวันนี้ ปฏิเสธไม่ได้ว่าปัญหาขยะถือเป็นปัญหาสำคัญที่สร้างความเดือดร้อนให้กับมนุษย์มากเป็นลำดับต้นๆ และนับวันยิ่งทวีความรุนแรงมากขึ้นเรื่อยๆ ความท้าทายประการสำคัญสำหรับมนุษย์ในยุคนี้และในอนาคต คือการจะจัดการกับปัญหาขยะนี้ได้อย่างไร
การก่อสร้างที่ยึดติดรูปแบบเดิมๆ ไร้การพัฒนาทำให้เราเปลืองทรัพยากรกว่าที่คิด อาจจะด้วยความยึดติดของช่างที่ไม่ยอมพัฒนาตัวเองเพื่อเรียนรู้สิ่งใหม่ในสายงาน ทำแต่สิ่งที่คุ้นเคย เรื่องเหล่านี้เป็นเรื่องอันตรายต่อวงการก่อสร้าง
ในยุคที่ระบบเก่าๆ กำลังถูกท้าทายและทดสอบ ระบบการศึกษาเองก็หนีการถูกท้าทายนี้ไม่พ้น ซึ่งข้อเสียหนึ่งของการศึกษาในระบบโรงเรียนแบบเดิมนั้น คือไม่สามารถกระจายได้อย่างทั่วถึง
สถาปัตยกรรมที่ดีไม่จำเป็นต้องมีราคาแพง ใช้วัสดุหรูล้ำเลิศ แต่สามารถตอบโจทย์ที่สถาปัตยกรรมนั้นแทรกเข้าไปอยู่ร่วมกับชุมชนจนเกิดความเป็นเนื้อเดียวกัน แต่การตอบโจทย์นั้นมีหลายวิธีเช่นกันกับหนึ่งในโครงการนี้ ทีมสถาปนิก
ปัญหาพื้นที่ตึกร้างทั้งที่ยังไม่ได้เข้าไปใช้งานเพราะพิษเศรษฐกิจหรืออาคารร้างจากสาเหตุต่างๆ ในสหราชอาณาจักร ก่อเกิดโครงการแก้ปัญหาพื้นที่ร้างจากการพัฒนาที่ดินเหล่านี้ด้วย บริษัทอสังหาริมทรัพย์ Lowe
การแก้ปัญหาพื้นที่การประชุมแบบเดิมๆ กำลังถูกท้าทายและสะท้อนออกมาเป็นอีกวิธีการแก้ไขเชิงทดลอง โดยนักออกแบบชาวเบลเยียม Jonas Van
บ้านเรือนคือสิ่งสะท้อนวัฒนธรรมของแต่ละถิ่น ถิ่นไหนมีวัสดุแบบใด สิ่งแวดล้อมแบบใด ก็ออกแบบให้ปรับตัวไปตามถิ่นที่ สิ่งเหล่านี้ทำให้เกิดภูมิปัญญาในการปลูกเรือนจนเป็นเอกลักษณ์